หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
พื้นที่ดาวเด่น
โหนดโรงเรียน
โหนดโรงพยาบาล
โหนดผู้ผลิต-ตลาดเขียว
โหนดผู้บริโภค
ภาคีโครงการ
กิจกรรมโครงการ
รายชื่อภาคี
ฐานข้อมูล
แผนที่
ติดต่อเรา
ปุ๋ยแพงก็ไม่พัง งานประชุมระดมความเห็นเพื่อหาทางออก (focus group) รับมือปุ๋ย-สารเคมีราคาแพง
22 มิ.ย. 2565
08:30-12:00 ถึง
22 มิ.ย. 2565
08:30-12:00
-
<!DOCTYPE html><br /> <html><br /> <head><br /> </head><br /> <body><br /> <p style="text-align: center;"><strong><span style="font-size: 18pt; font-family: 'arial black', 'avant garde'; color: #583d0c;">ปุ๋ยแพงก็ไม่พัง </span></strong></p><br /> <p style="text-align: center;"><strong><span style="font-size: 18pt; font-family: 'arial black', 'avant garde'; color: #583d0c;">งานประชุมระดมความเห็นเพื่อหาทางออก (focus group) รับมือปุ๋ย-สารเคมีราคาแพง</span></strong></p><br /> <p style="text-align: center;"><span style="color: #2dc26b;"><strong><span style="font-size: 18pt; font-family: 'arial black', 'avant garde';">ในวันที่ 22 มิถุนายน 2565 8.00 - 12.00 น.</span></strong></span></p><br /> <p><span style="color: #e67e23; font-size: 18pt;"><strong>1. หลักการและเหตุผล</strong></span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">ราคาปุ๋ยเคมีเพิ่มสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์โดยช่วงรอบปีที่ผ่านมาราคาปุ๋ยเคมีเพิ่มสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดดทั้งนี้เนื่องจากหลายปัจจัยรวมกันได้แก่ การขึ้นราคาของแก๊สธรรมชาติและน้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งเป็นต้นทุนสำคัญของการผลิตปุ๋ยเคมี สงครามในยูเครน และการจำกัดการส่งออกของผู้ผลิตปุ๋ยที่สำคัญ เช่น รัสเซีย และจีน เป็นต้น</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">ราคาปุ๋ยเคมีเริ่มมีราคาสูงขึ้นตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2563 และเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เช่น ราคาปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) เพิ่มขึ้นจาก 13,400 บาท/ตัน เมื่อเมษายนปี 2564 เป็น 28,000 บาท/ตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปี 2565 และปุ๋ยโพแทสเซียม (0-0-60) เพิ่มขึ้นจาก 12,250 บาท/ตัน เป็น 30,000 บาท/ตัน เป็นต้น (ข้อมูลจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร) โดย เมื่อสถิติเมื่อปี 2564 ประเทศไทยนำเข้าปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศ คิดเป็นมูลค่ากว่า 70,102.7 ล้านบาท </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">ราคาปุ๋ยเคมีส่งผลกระทบต่อเกษตรกรที่ปลูกพืชและอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารเนื่องจากการปลูกพืชสำคัญเช่น ข้าว ยางพารา อ้อย ข้าวโพด มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน เป็นต้น อาศัยการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นแหล่งอาหารสำคัญของพืช และต้นทุนของปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชคิดเป็น 25-35% ของต้นทุนการปลูกพืชทั้งหมด </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">วิกฤตอาหารในระดับโลกที่ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรส่วนใหญ่มีราคาสูงขึ้น เช่น ข้าวสาลี ข้าวโพด อ้อย และปาล์มน้ำมัน เป็นต้น อาจเป็นโอกาสของเกษตรกรที่ปลูกพืชบางกลุ่ม แต่ผลประโยชน์ดังกล่าวอาจถูกลดทอนจากต้นทุนปุ๋ยเคมีและสารเคมีที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่เกษตรกรส่วนใหญ่ของประเทศ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนถึง 79% ของเกษตรกรทั้งหมด ได้แก่เกษตรกรที่ปลูกข้าว และยางพาราจะได้รับผลกระทบอย่างหนักเนื่องจากต้นทุนสูงขึ้นแต่ราคาในตลาดโลกกลับไม่ได้ปรับขึ้นตามราคาของสินค้าอื่น</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศ เช่น Aaron Smith แห่ง University of California เห็นว่าราคาปุ๋ยที่สูงขึ้นจะทำให้การใช้ปุ๋ยต่อพื้นที่ลดลง มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ในขณะที่นักเกษตรและนักสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยเสนอแนะว่าในสถานการณ์เช่นนี้ เกษตรกรรายย่อยและนโยบายระดับชาติควรให้ความสำคัญในการปรับเปลี่ยนระบบเกษตรกรรม และวิถีเกษตรกรรมปัจจุบันไปสู่เกษตรกรรมเชิงนิเวศ และการให้ความสำคัญเกี่ยวกับการหมุนเวียนทรัพยากรในไร่นา การใช้ปุ๋ยมูลสัตว์ การใช้พืชตระกูลถั่วคลุมดิน และการจัดระบบการปลูกพืช มากขึ้นเป็นต้น</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">มูลนิธิชีววิถี (BioThai) มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย) และเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) และเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก โดยการสนับสนุนของแผนงานอาหารเพื่อสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงจัดให้มีการประชุมระดมสมองเพื่อเสนอแนะแนวทางและแนวนโยบายเพื่อหาทางออกในช่วงปุ๋ยและสารเคมีมีราคาแพง เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะและนำเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">โดยผลการประชุมนี้ จะนำเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการจัดประชุมวิชาการสาธารณะ ซึ่งจะจัดขึ้นอย่างเป็นทางการในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม ปี 2565</span></p><br /> <p><span style="font-size: 18pt;"><strong><span style="color: #3598db;">2. วัน และ เวลา</span> </strong></span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;"><span style="background-color: #f1c40f;">วันพุธที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 08.30 น. – 12.00 น.</span></span></p><br /> <p><span style="font-size: 18pt;"><strong>3. รูปแบบการประชุม</strong> </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">ประชุมผ่านโปรแกรม Zoom ทาง https:<span style="background-color: #3598db;">//us02web.zoom.us/j/8394771520 </span></span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">และถ่ายทอดผ่าน Facebook Live ทาง <span style="background-color: #3598db;">https://web.facebook.com/biothai.net</span></span></p><br /> <p><span style="font-size: 18pt;"><strong>4. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ที่</strong></span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt; background-color: #3598db; color: #ecf0f1;">https://thaipan.org/agricultural-crisis</span></p><br /> <p><span style="font-size: 18pt; color: #169179;"><strong>กำหนดการประชุม</strong></span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">09.00 - 09.10 น. กล่าวเปิดการประชุม</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">โดย ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ ประธานคณะกรรมการกำกับทิศแผนอาหารเพื่อสุขภาวะ</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">09.10 - 09.40 น. ฐานคิด แนวทาง และข้อเสนอแนะเพื่อรับมือ ปุ๋ยและสารเคมีการเกษตร มีราคาแพง </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">โดย คุณชนวน รัตนวราหะ ผู้เชี่ยวชาญเกษตรกรรมยั่งยืน และอดีตรองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">09.40 – 10.00 น. ข้อมูลและความรู้เรื่องฐานทรัพยากร ปุ๋ยจากมูลสัตว์ เศษซากพืช และพืชคลุมดิน เพื่อทดแทนปุ๋ยเคมีสำหรับประเทศไทย</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">โดย ผู้เชี่ยวชาญ กรมพัฒนาที่ดิน (รอยืนยัน)</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">10.00 - 11.40 น. ชวนแลกเปลี่ยน ระดมข้อมูล ความเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อรับมือปุ๋ยและสารเคมีการเกษตร </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">ราคาแพง </span><span style="font-size: 14pt;">โดย </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- คุณภัทธาวุธ จิวตระกูล – กรณีพืชคลุมดินในสวนยาง ปาล์ม และไม้ผล </span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- บริษัทผู้ผลิตอ้อย&น้ำตาล – กรณีการลดการไถพรวน ลดการเผา และปุ๋ยชีวภาพ (รอยืนยัน)</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- คุณชัยพร พรหมพันธุ์ - การทำนาลดต้นทุน</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- ผู้ใหญ่ปราณี จันหอม - ปุ๋ยไส้เดือนในสวนทุเรียน</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- อาจารย์จตุพร เทียรมา – นิเวศเกษตรของดิน</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- คุณนคร ลิมปคุปตถาวร – ฮิวมัสและอินทรีย์วัตถุ</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- คุณอุบล อยู่หว้า – เกษตรยั่งยืนภาคอีสาน</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- คุณปรัชญา ธัญญาดี – ดินและปุ๋ย</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- อาจารย์เกศศิรินทร์ แสงมณี - ปรุงดินด้วยอินทรีย์ชีวภาพ</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">- และผู้เข้าร่วมผ่าน Zoom และ FB Live</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">11.40 - 12.00 น. สรุปและประมวลข้อเสนอแนะ</span></p><br /> <p><span style="font-size: 14pt;">โดย คุณวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ มูลนิธิชีววิถี และ คุณปรกชล อู๋ทรัพย์ เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช</span></p><br /> </body><br /> </html>